การจัดการความรู้ KM ?
การจัดการความรู้ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า KM คือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
ดัง นั้นการจัดการความรู้จึงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง เมื่อไรก็ตามที่มีการเข้าใจผิด เอาการจัดการความรู้เป็นเป้าหมาย ความผิดพลาดก็เริ่มเดินเข้ามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการความรู้เทียม หรือ ปลอม เป็นการดำเนินการเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่ามีการจัดการความรู้เท่านั้นเอง
ประเภทความรู้ ความรู้อาจแบ่งใหญ่ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ
1.ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในตำรา คู่มือปฏิบัติงาน
2.ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน
โดยที่ความรู้ทั้ง ๒ ประเภทนี้มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน
การ จัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้ เมื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นำมาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป (ดูวงจรทางซ้ายในรูป) ส่วนการจัดการ “ความรู้ซ่อนเร้น”นั้นจะเน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ ปฏิบัติ ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ต่อไป (ดูวงจรทางขวาในรูป)
การ จัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้ เมื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นำมาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป (ดูวงจรทางซ้ายในรูป) ส่วนการจัดการ “ความรู้ซ่อนเร้น”นั้นจะเน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ ปฏิบัติ ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ต่อไป (ดูวงจรทางขวาในรูป)
__________________________________________________________________________________
กระบวนการที่ 2 ลักษณะ รายละเอียดของความเสี่ยง (description of risk) เมื่อชี้ระบุความเสี่ยงได้แล้ว และนำมาบรรยายรายละเอียดและลักษณะของความเสี่ยงนั้น ได้แก่
- ชื่อความเสี่ยง (Name)
- ขอบเขต (Scope)
- ลักษณะความเสี่ยง (Nature)
- ผู้ที่มีผลกระทบ
- ลักษณะเชิงประมาณ
- การยอมรับความเสี่ยง
- การบำบัดและการควบคุม
- แนวทางการปรับปรุง
- การพัฒนากลยุทธ์และนโยบาย
กระบวนการที่ 3 การ ประมานความเสี่ยง (risk estimation) ขั้นตอนนี้เป็นการดูปัญหาความเสี่ยงในแง่ของโอกาสการเกิดเหตุ (incident) หรือเหตุการณ์ (event) ว่ามีมากน้อยเพียงไรและผลที่ติดตามมาว่ามีความรุนแรงหรือเสียหายมากน้อย เพียงใด
โอกาส หรือ ความน่าจะเป็น (Probability) หรือความบ่อยครั้งของการเกิดเหตุหรือเหตุการณ์ อาจแบ่งแบบง่ายๆเป็น 5 ระดับจากน้อยไปหามาก เช่น
- บ่อย (frequent) พบได้บ่อยครั้งเป็นประจำ
- ประปราย (probable)
- ตามโอกาส (occasional)
- น้อยครั้งมาก (remote)
- แทบไม่เกิดเลย (improbable)
ความรุนแรงของสิ่งที่เกิดขึ้นตามมา (Severity of consequence) อาจแบ่งเป็น 4 ระดับคือ
- สูงมาก (severe)
- สูง (high)
- ปานกลาง (moderate)
- ต่ำ (low)
- ชื่อความเสี่ยง (Name)
- ขอบเขต (Scope)
- ลักษณะความเสี่ยง (Nature)
- ผู้ที่มีผลกระทบ
- ลักษณะเชิงประมาณ
- การยอมรับความเสี่ยง
- การบำบัดและการควบคุม
- แนวทางการปรับปรุง
- การพัฒนากลยุทธ์และนโยบาย
กระบวนการที่ 3 การ ประมานความเสี่ยง (risk estimation) ขั้นตอนนี้เป็นการดูปัญหาความเสี่ยงในแง่ของโอกาสการเกิดเหตุ (incident) หรือเหตุการณ์ (event) ว่ามีมากน้อยเพียงไรและผลที่ติดตามมาว่ามีความรุนแรงหรือเสียหายมากน้อย เพียงใด
โอกาส หรือ ความน่าจะเป็น (Probability) หรือความบ่อยครั้งของการเกิดเหตุหรือเหตุการณ์ อาจแบ่งแบบง่ายๆเป็น 5 ระดับจากน้อยไปหามาก เช่น
- บ่อย (frequent) พบได้บ่อยครั้งเป็นประจำ
- ประปราย (probable)
- ตามโอกาส (occasional)
- น้อยครั้งมาก (remote)
- แทบไม่เกิดเลย (improbable)
ความรุนแรงของสิ่งที่เกิดขึ้นตามมา (Severity of consequence) อาจแบ่งเป็น 4 ระดับคือ
- สูงมาก (severe)
- สูง (high)
- ปานกลาง (moderate)
- ต่ำ (low)